เอส แอนด์ พี จัดตั้งสำนักพัฒนาความยั่งยืนและสื่อสารองค์กรขึ้นเป็นครั้งแรกในปี 2561 เพื่อติดตามและรับผิดชอบงานด้านบรรษัทภิบาล ความรับผิดชอบต่อสังคม และความยั่งยืน ให้ตอบสนองต่อประเด็นสำคัญของบริษัท โดยกำหนดแนวทางการดำเนินธุรกิจที่สอดคล้องกับเป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืนของสหประชาชาติ และทิศทางการพัฒนาความยั่งยืนของโลก ได้แก่ Sustainable Development Goals (SDGs) โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป้าหมาย 5 ข้อ ได้แก่

  • 2
    การขจัดความหิวโหย บรรลุความมั่นคงทางอาหาร ส่งเสริมเกษตรกรรมอย่างยั่งยืน (Zero Hunger)
  • 3
    การรับรองการมีสุขภาพ และความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคนทุกช่วงอายุ (Good Health and well-being)
  • 8
    ส่งเสริมการเติบโตทางเศรษฐกิจที่ต่อเนื่อง ครอบคลุมและยั่งยืน การจ้างงานที่มีคุณค่า (Decent Work and Economic Growth)
  • 12
    การรับรองแผนการบริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน (Responsible Consumption and Production)
  • 17
    สร้างพลังแห่งการเป็นหุ้นส่วนความร่วมมือระดับสากลต่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (Partnerships for the Goals)

ความก้าวหน้าการดำเนินงานเทียบเป้าหมายความยั่งยืน

การจัดการบรรจุภัณฑ์ที่ยั่งยืน การพัฒนาบุคลากร คุณภาพผลิตภัณฑ์

เป้าหมาย

บรรจุภัณฑ์อาหารสามารถย่อยสลายได้ รีไซเคิลได้ หรือนำกลับมาใช้ใหม่ได้ 100%


ผลการดำเนินงาน

สามารถย่อยสลายได้ รีไซเคิลได้ หรือนำกลับมาใช้ใหม่ได้ 94%

เป้าหมาย

ชั่วโมงการฝึกอบรมของพนักงานเฉลี่ย 17 ชั่วโมง


ผลการดำเนินงาน

ชั่วโมงการฝึกอบรมของพนักงานเฉลี่ย 14 ชั่วโมง

เป้าหมาย

ร้าน S&P ทุกร้านผ่านเกณฑ์การประเมิน QSC > 80%


ผลการดำเนินงาน

ร้าน S&P ผ่านเกณฑ์การประเมิน QSC 78% (ของจำนวนร้าน 389 ร้าน)


การจัดการขยะ/ของเสียไม่อันตราย อัตราการลาออกสมัครใจ การกำกับดูแลและจริยธรรมทางธุรกิจ

เป้าหมาย

ลดปริมาณขยะและของเสียไม่อันตราย 345 ตัน

ลดปริมาณขยะและของเสียไม่อันตราย ต่อหน่วยการผลิต 10%


ผลการดำเนินงาน

ลดปริมาณขยะและของเสียไม่อันตราย 393.25 ตัน

ลดปริมาณขยะและของเสียไม่อันตราย ต่อหน่วยการผลิต 9.17%

เป้าหมาย

อัตราลาออกสมัครใจ ≤ 5%


ผลการดำเนินงาน

อัตราลาออกสมัครใจ 10.79%

เป้าหมาย

ดีเลิศ


ผลการดำเนินงาน

ดีมาก


การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก อาชีวอนามัยและความปลอดภัย การบริหารความสัมพันธ์กับลูกค้า

เป้าหมาย

ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลง 10%

ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยการผลิตลดลง -10%

มุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน (Carbon Neutral) ภายในปี 2573


ผลการดำเนินงาน

ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกลดลง 19%

ปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ต่อหน่วยการผลิตลดลง -8%

เป้าหมาย

อัตราการบาดเจ็บจากการทำงานเป็น 0

อัตราการเสียชีวิตจากการทำงานเป็น 0


ผลการดำเนินงาน

อัตราการบาดเจ็บจากการทำงานเป็น 0.83

อัตราการเสียชีวิตจากการทำงานเป็น 0

เป้าหมาย

คะแนนความพึงพอใจของลูกค้า > 85%


ผลการดำเนินงาน

คะแนนความพึงพอใจของลูกค้า > 76%


ประสิทธิภาพการใช้พลังงาน สุขภาวะและความเป็นอยู่ที่ดีของทุกคน การปกป้องความเป็นส่วนบุคคล

เป้าหมาย

ลดการใช้พลังงานไฟฟ้า 3%

ลดการใช้ไฟฟ้า ต่อหน่วยการผลิต -10%


ผลการดำเนินงาน

ลดการใช้พลังงานไฟฟ้า 4%

ลดการใช้ไฟฟ้า ต่อหน่วยการผลิต -10%

เป้าหมาย

เมนูสุขภาพ 100 เมนูใหม่


ผลการดำเนินงาน

135 เมนูใหม่ที่เป็นอาหารสุขภาพ

เป้าหมาย

ข้อร้องเรียนด้านความไม่ปลอดภัยของข้อมูลเป็น 0


ผลการดำเนินงาน

ข้อร้องเรียนด้านความไม่ปลอดภัยของข้อมูลเป็น 0


การใช้น้ำอย่างมีประสิทธิภาพ การทำการตลาดและการสื่อสารอย่างรับผิดชอบ การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน

เป้าหมาย

ลดการใช้น้ำ 20%

ลดการใช้น้ำ ต่อหน่วยการผลิต 20%


ผลการดำเนินงาน

ลดการใช้น้ำ 20.4%

ลดการใช้น้ำต่อหน่วยการผลิต 36.7%

เป้าหมาย

การตรวจสอบย้อนกลับผลิตภัณฑ์ 3 ผลิตภัณฑ์


ผลการดำเนินงาน

NA

เป้าหมาย

10% ของคู่ค้าทั้งหมดที่ได้รับการตรวจประเมิน ESG


ผลการดำเนินงาน

คู่ค้าทั้งหมดที่ได้รับการตรวจประเมิน ESG คิดเป็น 10%


ผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อม
ตัวชี้วัด หน่วย 2563 2564 2565
พลังงาน
ปริมาณการใช้ไฟฟ้า กิโลวัตต์-ชั่วโมง 12,373,749 12,539,897 12,092,118
ปริมาณการใช้ไฟฟ้าต่อหน่วยการผลิต กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อตันการผลิต 1,091 1,120 1,007
การใช้น้ำ
ปริมาณการใช้น้ำ ลูกบาศก์เมตร 143,523 138,093 146,926
ปริมาณการใช้น้ำต่อหน่วยการผลิต ลูกบาศก์เมตรต่อตันการผลิต 12.65 7.33 7.80
ก๊าซเรือนกระจก
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกรวม (Scope 1 2 และ 3) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 17,632 19,933 34,619
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางตรง (Scope 1) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 4,688 6,312 6,101
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม(Scope 2) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 5,560 5,555 5,399
การปล่อยก๊าซเรือนกระจกทางอ้อม(Scope 3) ตันคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่า 7,384 8,066 23,119
ขยะและของเสีย
ปริมาณขยะและของเสียทั้งหมดจำแนกตามประเภท ตัน 380.26 383.44 393.25
ขยะอันตราย ตัน 0.15 0.10 0.12
ขยะไม่อันตราย ตัน 288.40 292.10 306.50
ขยะรีไซเคิลได้ ตัน 42.91 36.24 37.98
ขยะรีไซเคิลไม่ได้ ตัน 48.8 55.00 48.65
ปริมาณขยะและของเสียทั้งหมดจำแนกตามวิธีการกำจัด ตัน 380.26 383.44 393.25
ขยะและของเสียที่กำจัดโดยการฝังกลบ ตัน 48.8 55.0 48.65
ขยะและของเสียที่กำจัดโดยการทำปุ๋ย ตัน 122.0 133.7 118.5
ขยะและของเสียที่กำจัดโดยการทำเป็นอาหารสัตว์ ตัน 166.4 158.4 188.0
ขยะและของเสียที่กำจัดโดยวิธีการอื่นๆ ตัน 43.06 36.34 38.1

ผลการดำเนินงานด้านสังคม
ตัวชี้วัด หน่วย 2563 2564 2565
ข้อมูลพนักงาน
พนักงานชาย คน 1,086 1,427 1,181
พนักงานหญิง คน 3,272 3,349 3,158
ความหลากหลายอื่นๆ
พนักงานกลุ่มผู้พิการ คน 4 4 4
การฝึกอบรมพนักงาน
จำนวนชั่วโมงการฝึกอบรมทั้งหมด ชั่วโมง 57,186 61,752 59,218
จำนวนชั่วโมงการฝึกอบรมเฉลี่ยต่อคน ชั่วโมงเฉลี่ยต่อคน 19 18 14
การลาออก
อัตราการลาออก ร้อยละ 8 8.65 10.79